From space
To the earth
For communities
Asian Air Quality Operations Center by Space Technology, Geo-informatics & Environmental Engineering
รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศ
เกี่ยวกับเรา
เนื่องจากจังหวัดเชียงใหม่และภาคเหนือของไทยได้เผชิญกับปัญหาด้านคุณภาพอากาศเกี่ยวกับวิกฤตหมอกควัน PM2.5 ซึ่งส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสุขภาพของประชาชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่จึงได้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการ AiroTEC ขึ้นเพื่ออาสาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการปัญหาดังกล่าว มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและความรู้ให้เกิดประโยชน์

เครื่องมือตรวจวัดคุณภาพอากาศ Pandora Spectrometer สถานีฐานภาคพื้นดินเพื่อการตรวจสอบความถูกต้องกับข้อมูลดาวเทียม (Ground – Based Remote Sensing) ติดตั้งที่ชั้นดาดฟ้า อาคาร 29 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

คุณภาพอากาศเชียงใหม่วันนี้
คุณภาพอากาศแม่ฮ่องสอนวันนี้

กิจกรรมศูนย์ฯ
<< เรื่องราวดีๆ บนเฟสบุ๊ค
AiroTEC CMRU4 days ago
ทีมบริหารงาน AiroTEC เข้าพบ รองศาสตราจารย์ ดร.เอกบดินทร์ วินิจกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านคุณภาพอากาศ, การสร้างแบบจำลองและการตรวจสอบมลพิษทางอากาศ สังกัดสาขาวิชาวิศวกรรมและการจัดการสิ่งแวดล้อม สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ในฐานะที่ปรึกษาศูนย์ฯ AiroTEC เพื่อรับฟังคำแนะนำถึงแนวทางในการดำเนินงานต่อไป
สาระน่ารู้
น้อง Airo ฑูตกิจกรรมศูนย์ AiroTec ใส่ใจมลพิษทางอากาศ
อากาศดีมาก

TH-AQI 0-25
PM2.5 0-25
(ug/m3)
อากาศดี

TH-AQI 26-50
PM2.5 26-37
(ug/m3)
อากาศปานกลาง

TH-AQI 51-100
PM2.5 38-50
(ug/m3)
เริ่มมีผลต่อสุขภาพ

TH-AQI 101-200
PM2.5 51-90
(ug/m3)
มีผลต่อสุขภาพ

TH-AQI >200
PM2.5 > 91
(ug/m3)